Spread the love

บทความ

  • บทความทั้งหมด
  • Ang Thong
  • Bangkok
  • Bueng Kan
  • Buriram
  • Chachoengsao
  • Chaiyaphum
  • Chiang Rai
  • Chonburi
  • Chumphon
  • Kamphaeng Phet
  • Kanchanaburi
  • Khon Kaen
  • Krabi
  • Lamphun
  • Loei
  • Lopburi
  • Mukdahan
  • Nakhon Pathom
  • Nakhon Phanom
  • Nakhon Ratchasima
  • Nakhon Sawan
  • Nakhon Si Thammarat
  • Nan
  • Nong Bua Lamphu
  • Nong Khai
  • Phang Nga
  • Phetchabun
  • Phetchaburi
  • Phitsanulok
  • Phra Nakhon Si Ayutthaya
  • Phrae
  • Phuket
  • Prachuap Khiri Khan
  • Ranong
  • Ratchaburi
  • Rayong
  • Samut Songkhram
  • Sing Buri
  • Sukhothai
  • Suphan Buri
  • Surat Thani
  • Tak
  • Thailand Reopening
  • Trang
  • Udon Thani
  • Uthai Thani
  • Uttaradit
  • กระบี่
  • กรุงเทพมหานคร
  • กาญจนบุรี
  • กาฬสินธุ์
  • กำแพงเพชร
  • ขอนแก่น
  • จันทบุรี
  • ฉะเชิงเทรา
  • ชลบุรี
  • ชัยนาท
  • ชัยภูมิ
  • ชุมพร
  • ตรัง
  • ตราด
  • ตาก
  • ที่เที่ยวภาคกลาง
  • ที่เที่ยวภาคตะวันตก
  • ที่เที่ยวภาคตะวันออก
  • ที่เที่ยวภาคอิสาน
  • ที่เที่ยวภาคเหนือ
  • ที่เที่ยวภาคใต้
  • นครนายก
  • นครปฐม
  • นครพนม
  • นครราชสีมา
  • นครศรีธรรมราช
  • นครสวรรค์
  • นนทบุรี
  • นราธิวาส
  • น่าน
  • นาราธิวาส
  • บึงกาฬ
  • บุรีรัมย์
  • ปทุมธานี
  • ประจวบคีรีขันธ์
  • ปราจีนบุรี
  • ปัตตานี
  • พระนครศรีอยุธยา
  • พะเยา
  • พังงา
  • พัทลุง
  • พิจิตร
  • พิษณุโลก
  • ภูเก็ต
  • มหาสารคาม
  • มุกดาหาร
  • ยะลา
  • ยโสธร
  • ร้อยเอ็ด
  • ระนอง
  • ระยอง
  • ราชบุรี
  • ลพบุรี
  • ลำปาง
  • ลำพูน
  • ศรีสะเกษ
  • สกลนคร
  • สงขลา
  • สตูล
  • สมุทรปราการ
  • สมุทรสงคราม
  • สมุทรสาคร
  • สระบุรี
  • สระแก้ว
  • สิงห์บุรี
  • สุพรรณบุรี
  • สุราษฎร์ธานี
  • สุรินทร์
  • สุโขทัย
  • หนองคาย
  • หนองบัวลําภู
  • อ่างทอง
  • อุดรธานี
  • อุตรดิตถ์
  • อุทัยธานี
  • อุบลราชธานี
  • อํานาจเจริญ
  • เชียงราย
  • เชียงใหม่
  • เพชรบุรี
  • เพชรบูรณ์
  • เลย
  • แก้ไขปัญหาการท่องเที่ยว
  • แนะนำการท่องเที่ยว
  • แพร่
  • แม่ฮ่องสอน
  • ไม่จัดหมวดหมู่
บทความทั้งหมด
  • บทความทั้งหมด
  • Ang Thong
  • Bangkok
  • Bueng Kan
  • Buriram
  • Chachoengsao
  • Chaiyaphum
  • Chiang Rai
  • Chonburi
  • Chumphon
  • Kamphaeng Phet
  • Kanchanaburi
  • Khon Kaen
  • Krabi
  • Lamphun
  • Loei
  • Lopburi
  • Mukdahan
  • Nakhon Pathom
  • Nakhon Phanom
  • Nakhon Ratchasima
  • Nakhon Sawan
  • Nakhon Si Thammarat
  • Nan
  • Nong Bua Lamphu
  • Nong Khai
  • Phang Nga
  • Phetchabun
  • Phetchaburi
  • Phitsanulok
  • Phra Nakhon Si Ayutthaya
  • Phrae
  • Phuket
  • Prachuap Khiri Khan
  • Ranong
  • Ratchaburi
  • Rayong
  • Samut Songkhram
  • Sing Buri
  • Sukhothai
  • Suphan Buri
  • Surat Thani
  • Tak
  • Thailand Reopening
  • Trang
  • Udon Thani
  • Uthai Thani
  • Uttaradit
  • กระบี่
  • กรุงเทพมหานคร
  • กาญจนบุรี
  • กาฬสินธุ์
  • กำแพงเพชร
  • ขอนแก่น
  • จันทบุรี
  • ฉะเชิงเทรา
  • ชลบุรี
  • ชัยนาท
  • ชัยภูมิ
  • ชุมพร
  • ตรัง
  • ตราด
  • ตาก
  • ที่เที่ยวภาคกลาง
  • ที่เที่ยวภาคตะวันตก
  • ที่เที่ยวภาคตะวันออก
  • ที่เที่ยวภาคอิสาน
  • ที่เที่ยวภาคเหนือ
  • ที่เที่ยวภาคใต้
  • นครนายก
  • นครปฐม
  • นครพนม
  • นครราชสีมา
  • นครศรีธรรมราช
  • นครสวรรค์
  • นนทบุรี
  • นราธิวาส
  • น่าน
  • นาราธิวาส
  • บึงกาฬ
  • บุรีรัมย์
  • ปทุมธานี
  • ประจวบคีรีขันธ์
  • ปราจีนบุรี
  • ปัตตานี
  • พระนครศรีอยุธยา
  • พะเยา
  • พังงา
  • พัทลุง
  • พิจิตร
  • พิษณุโลก
  • ภูเก็ต
  • มหาสารคาม
  • มุกดาหาร
  • ยะลา
  • ยโสธร
  • ร้อยเอ็ด
  • ระนอง
  • ระยอง
  • ราชบุรี
  • ลพบุรี
  • ลำปาง
  • ลำพูน
  • ศรีสะเกษ
  • สกลนคร
  • สงขลา
  • สตูล
  • สมุทรปราการ
  • สมุทรสงคราม
  • สมุทรสาคร
  • สระบุรี
  • สระแก้ว
  • สิงห์บุรี
  • สุพรรณบุรี
  • สุราษฎร์ธานี
  • สุรินทร์
  • สุโขทัย
  • หนองคาย
  • หนองบัวลําภู
  • อ่างทอง
  • อุดรธานี
  • อุตรดิตถ์
  • อุทัยธานี
  • อุบลราชธานี
  • อํานาจเจริญ
  • เชียงราย
  • เชียงใหม่
  • เพชรบุรี
  • เพชรบูรณ์
  • เลย
  • แก้ไขปัญหาการท่องเที่ยว
  • แนะนำการท่องเที่ยว
  • แพร่
  • แม่ฮ่องสอน
  • ไม่จัดหมวดหมู่

“ AMAZING NORTHERN CAMPSITE 2021 ”

เตรียมตัวเปิดประสบการณ์แคมป์ “ AMAZING NORTHERN  CAMPSITE 2021 ” แคมปิ้งสไตล์ เฟสติวัล ที่ชาวแคมป์ต้องไปสัมผัสบรรยากาศอันแสนพิเศษที่ไม่เหมือนกับแคมป์ไหนๆ งานนี้รวบรวมประสบการณ์ความสนุกไว้ให้อีกเพียบ!!!  เตรียมลุย 6 จังหวัด ได้แก่ เชียงใหม่ – แม่ฮ่องสอน – ลำพูน – ตาก  – กำแพงเพชร – อุตรดิตถ์ กิจกรรมภายในงาน– คอนเสิร์ตสุดปังจากศิลปินชั้นนำสายแคมป์ – แลนด์มาร์คตั้งแคมป์สุดปัง 6 จังหวัด– ฟินกับกิจกรรมสนุกๆ ภายในงาน– อิ่มอร่อยกับฟู๊ดโซนชั้นนำแต่ละจังหวัด.ติดตามรายละเอียดการจำหน่ายบัตรได้ที่ เพจ Amazing Northern Campsite .Line ad : Mobsater
อ่านเพิ่มเติม

ป๋าเวณีปี๋ใหม่เมืองเชียงใหม่ 2564

ปีนี้จังหวัดเชียงใหม่จัดเทศกาลสงกรานต์ “ป๋าเวณีปี๋ใหม่เมืองเชียงใหม่ 2564” แอ่วที่ใดในเมืองเชียงใหม่ก็ได้ร่วมงานป๋าเวณีปี๋ใหม่เมือง และร่วมฉลองเมืองเชียงใหม่ครบ 725 ปี ในวันที่ 1-19 เมษายน 2564 โดยเน้นจัดกิจกรรมสไตล์ New Normal .แอดได้รวบรวมข้อมูลเทศกาลสงกรานต์มาให้เพื่อน ๆ แล้ว ไปดูกันเลยค่ะว่ามีที่ไหนบ้าง 1. วัดพระธาตุดอยสุเทพวรมหาวิหารพิธีหุงน้ำทิพย์ปี๋ใหม่เมืองเจียงใหม่วันที่จัดงาน : วันที่ 9 เมษายน 2564พิกัด : https://goo.gl/maps/bxQKZ9icutss6LzV6 รับน้ำทิพย์ปี๋ใหม่เมืองฯ จำนวน 9,725 ขวด ฉลองเมืองเชียงใหม่ครบ 725 ปี วันที่ 11-13 เมษายน 2564 ณ วัดพระธาตุดอยสุเทพฯ วัดพระสิงห์ฯ วัดเจดีย์หลวง วัดบุพพาราม  และอนุสาวรีย์สามกษัตริย์ โดยสามารถลงทะเบียนรับน้ำทิพย์ได้ตั้งแต่วันที่ 4 เมษายน 2564 ผ่านทาง Facebook ททท. สนง. เชียงใหม่ / TAT Chiang Mai.2. วัดสวนดอกพิธีสักการะกู่เจ้าหลวงเชียงใหม่วันที่จัดงาน : วันที่ 17 เมษายน 2564พิกัด : https://goo.gl/maps/Lr42hWc5JJgBeuoH7.3. วัดพระสิงห์วรมหาวิหารประเพณีสมโภชและสรงน้ำพระพุทธสิหิงค์วันที่จัดงาน : วันที่ 11-15 เมษายน 2564พิกัด : https://goo.gl/maps/pwbRmSpdopEWQtQ6A.4. อนุสาวรีย์สามกษัตริย์พิธีตานตุงไชย ฟื้นใจ๋เมืองเชียงใหม่ ฉลองครบ 725 ปี ก่อตั้งเมืองเชียงใหม่วันที่จัดงาน : วันที่ 1-19 เมษายน 2564งานยอสวยไหว้สาพระญามังราย และพิธีทำบุญตักบาตรครบ 725 ปี ก่อตั้งเมืองเชียงใหม่วันที่จัดงาน : วันที่ 11-12 เมษายน 2564กิจกรรม “สืบฮีต สานฮอย ป๋าเวณีปี๋ใหม่เมือง”วันที่จัดงาน : วันที่ 13-15 เมษายน 2564พิกัด ...
อ่านเพิ่มเติม

เตรียมพร้อมเข้าสู่เดือนแห่งความสุข สวัสดีปีใหม่ไทย กับงานเทศกาลสงกรานต์ ประจำปี 2564

เตรียมพร้อมเข้าสู่เดือนแห่งความสุข สวัสดีปีใหม่ไทย กับงานเทศกาลสงกรานต์ ประจำปี 2564 .เทศกาลที่เพื่อน ๆ หลายคนกำลังรอคอยให้มาถึง เนื่องจากปีที่แล้ว เราต้องงดเล่นน้ำกันไปเพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโควิด 19 แต่ในปีนี้แอดก็มีข่าวดีมาบอก.สำหรับในปีนี้ ทั่วประเทศได้มีการจัดงานเทศกาลสงกรานต์ตามประเพณี แต่ยังคงปฏิบัติตามมาตรการการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ภายใต้คอนเซ็ปต์ “สงกรานต์ ริน รด พรม ใส่หน้ากาก ไม่สาดน้ำ Amazing ยิ่งกว่าเดิม” .วันนี้แอดเลยรวบรวมข้อมูลงานเทศกาลสงกรานต์บางส่วนมาให้เพื่อน ๆ ดูกันว่าจะมีที่ไหนบ้าง ไปดูกัน ภาคเหนือ.เทศกาลสงกรานต์แห่พระร้อยองค์ริมโขงเชียงของวันที่จัดงาน : 13-18 เมษายน 2564สถานที่จัด : ระเบียงริมโขง (วัดหัวเวียง-วัดหาดไคร้) และบริเวณลานหน้าพญานาคริมโขงถึงสะพานผาถ่าน อำเภอเชียงของ จังหวัดเชียงรายพิกัด : https://goo.gl/maps/eDYi44DJFpy6MakK8.งานมหาสงกรานต์เชียงแสนปี 2564วันที่จัดงาน : 16-18 เมษายน 2564สถานที่จัด : ถนนหน้าที่ว่าการอำเภอเชียงแสนและถนนเรียบริมน้ำโขง จังหวัดเชียงรายพิกัด : https://goo.gl/maps/55MTPk9eTwfNgbzT7.งานประเพณีสรงน้ำพระพุทธรูป ประจำปี 2564วันที่จัดงาน : เมษายน 2564สถานที่จัด : วัดจองกลาง อำเภอเมือง จังหวัดแม่ฮ่องสอนพิกัด : https://goo.gl/maps/yreapAQigKDL56gL8.งานประเพณีสืบสานสงกรานต์ ขนทรายเข้าวัด ประจำปี 2564วันที่จัดงาน : เมษายน 2564สถานที่จัด : วัดกุงเปา อำเภอเมือง จังหวัดแม่ฮ่องสอนพิกัด : https://goo.gl/maps/9hd8Y9NB5fhJVfub6.งานประเพณีสงกรานต์ “ดอกลมแล้งบาน สงกรานต์เมืองแป้ นุ่งหม้อห้อมแต้งามดำ”วันที่จัดงาน : 13-17 เมษายน 2564สถานที่จัด : ถนนเจริญเมือง อำเภอเมือง จังหวัดแพร่พิกัด : https://goo.gl/maps/foM8fDJq8dKEgzae7.งานประเพณีสงกรานต์เย็นทั่วหล้า มหาสงกรานต์วันที่จัดงาน : 14-16 เมษายน 2564สถานที่จัด : หน้าวัดศรีดอนคำ ถนนสายวัฒนธรรม ตลาดห้วยอ้อ อำเภอลอง จังหวัดแพร่พิกัด : https://goo.gl/maps/2r71d3FNTAhDaqmdA.งานอนุรักษ์และสืบสานประเพณีสงกรานต์ไตลื้อวันที่จัดงาน : 13-14 ...
อ่านเพิ่มเติม

A LEISURELY DAY SPENT IN BANGKOK’S OLD TOWN AREA OF PAK KHLONG TALAT – MEMORIAL BRIDGE

When was the last time you visited Pak Khlong Talat?..
อ่านเพิ่มเติม

1 วันสุดชิล@ปากคลองตลาด-สะพานพุทธ

1 วันชิลล์ ๆ นี้แอดจะพาเพื่อน ๆ ไปเดินเล่นย่านปากคลองตลาด-สะพานพุทธ ย่านเก่าแก่ริมแม่น้ำเจ้าพระยา เป็นอีกย่านที่เราจะได้เห็นวิถีชีวิตผู้คน ตึกยุคเก่าแนววินเทจที่เปี่ยมด้วยเรื่องราวในอดีต เป็นย่านที่ถึงเวลาจะผ่านมาเท่าไหร่ก็ยังคงความคลาสสิกไม่มีเปลี่ยน . ใครที่อยากเที่ยวแต่ไม่อยากออกจากกรุงเทพฯ ก็แวะไปเที่ยวย่านปากคลองตลาด-สะพานพุทธกันได้ ไปอัพเดทความเปลี่ยนแปลง ร้านรวงใหม่ ๆ พื้นที่ใหม่ ๆ และสำหรับเพื่อน ๆ ที่ยังไม่เคยไป ลองไปกันค่ะ อาจจะได้พบสถานที่ใกล้ตัวที่เที่ยวสนุกเพิ่มขึ้นอีกหนึ่งแห่งก็ได้ ปากคลองตลาด-สะพานพุทธ1 พิพิธภัณฑ์ใต้ดิน (Site Museum)2.มิวเซียมสยาม3 สำนักงานตำรวจนครบาลพระราชวัง4. Farm to Table, Hideout5.ปากคลองตลาด6.ยอดพิมาน ริเวอร์วอล์ค7.สวนลอยฟ้าเจ้าพระยา8 ไปรษณียาคาร9.สะพานพุทธยอดฟ้า พิพิธภัณฑ์ใต้ดิน (Site Museum).วันนี้แอดเดินทางด้วยรถไฟฟ้าใต้ดิน ลงที่สถานีสนามไชย ทางออก 1 แต่ก่อนจะออกจากสถานี แอดจะพาไปชมมิวเซียมใต้ดิน (Site Museum) พิพิธภัณฑ์การเรียนรู้ใต้ดินแห่งแรกของประเทศไทย ที่อยู่ในสถานีสนามไชยนี้กันค่ะ.เพราะบริเวณนี้เป็นเขตเมืองเก่า เมื่อมีการเปิดหน้าดินเพื่อทำการก่อสร้าง เราจึงได้พบทั้งโบราณวัตถุมากมาย รวมทั้งฐานรากของท้องพระโรง และอื่น ๆ จึงเกิดเป็นความร่วมมือกันจัดทำเป็นพื้นที่จำลองเพื่อการเรียนรู้ประวัติศาสตร์พื้นที่รอบบริเวณสถานีสนามไชยตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ในส่วนพิพิธภัณฑ์ นอกจากจะมีการจัดแสดงโบราณวัตถุที่ค้นพบระหว่างการสร้างสถานีแล้ว ยังมีการใช้แอนิเมชั่นบอกเล่าประวัติศาสตร์ของพื้นที่อีกด้วย ซึ่งแอดว่าทำได้น่าสนใจและน่าสนุกมากเลย.เปิดทุกวัน เวลา 06.00-24.00 น.เข้าชมฟรี มิวเซียมสยาม.จากมิวเซียมใต้ดิน เราจะไปเที่ยวชมพิพิธภัณฑ์อีกแห่งค่ะ นั่นคือ มิวเซียมสยาม พิพิธภัณฑ์การเรียนรู้ (Museum Siam: Discovery Museum) สำหรับแอดแล้ว มิวเซียมสยามเป็นพิพิธภัณฑ์ที่สนุกมาก เหมาะกับทุกคนไม่ว่า Gen ไหนก็ตามที่อยากรู้เรื่องไทย ๆ ในทุกแง่มุมตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ไม่ว่าจะเป็นประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม ความเชื่อ วิถีชีวิต ฯลฯ โดยจัดแสดงผ่านเทคโนโลยีสมัยใหม่ จับต้องได้ ทำให้เข้าใจและเข้าถึงง่าย ในการเข้าชม เจ้าหน้าที่จะพาเราเดินชมไปทีละห้อง เราสามารถถ่ายรูป ถ่ายวิดีโอเก็บความรู้ ความประทับใจได้ทุกห้อง นอกจากนี้ ยังมีร้านขายของที่ระลึกให้ได้ช้อปปิ้ง ของน่ารักไม่แพ้ใครเลย หรือถ้าเหนื่อย ๆ ก็พักเติมพลังที่ร้านอาหารในมิวเซียมสยามก่อนออกไปเที่ยวที่อื่นต่อได้ เรียกว่าใช้เวลาอยู่ที่มิวเซียมสยาม ไม่เบื่อเลยค่ะ ได้เรียนรู้และสนุกกว่าที่คิด ค่าเข้าชมนักเรียน นักศึกษา (อายุ ...
อ่านเพิ่มเติม

Check in ปากคลองตลาด

ปากคลองตลาด เป็นตลาดมีชื่อเสียง เป็นที่รู้จักทั้งในหมู่คนไทยและต่างชาติ ซึ่งในแต่ละวัน ก็จะมีผู้คนมากมายเข้าไปเดินชมและเลือกซื้อสินค้าในปากคลองตลาด หลายคนอาจคิดว่าที่นี่น่าจะมีแต่ขายส่ง หรือขายแต่ปริมาณมาก ๆ แต่จริงๆ ขายปลีกเขาก็ขายนะ แถมราคาน่ารักมาก คุ้มสุด ๆ.ปากคลองตลาด เป็นตลาดที่ไม่มีวันหลับ เพราะว่ามีร้านรวงและแผงค้าสลับกันเปิด-ปิดไปตลอด 24 ชั่วโมง จะมาตอนไหนก็เลือกซื้อของที่ต้องการได้ และเท่าที่แอดสังเกต แต่ละร้านก็ปฏิบัติตามมาตรการป้องกันโควิด 19 ด้วยดี มีเจลแอลกอฮอล์ และเครื่องวัดอุณหภูมิ ปากคลองตลาดมี “ดอกไม้”.ข้อนี้เพื่อน ๆ คงทราบกันอยู่แล้วว่าปากคลองเป็นตลาดขายดอกไม้ที่ใหญ่ที่สุดในกรุงเทพฯ มีร้านค้าและแผงขายดอกไม้เยอะมาก หลัก ๆ ก็จะอยู่บริเวณริมถนนจักรเพชร โซนตลาดยอดพิมาน และโซนตลาดส่งเสริมการเกษตรไทย ดอกไม้ที่จำหน่ายในปากคลองตลาด มีทั้งที่มาจากภายในประเทศ และนำเข้ามาจากต่างประเทศ นอกจากดอกไม้มาตรฐานแล้ว ที่นี่ยังมีดอกไม้หายาก ดอกไม้แปลก ๆ ดอกไม้เฉพาะฤดูกาลขายด้วย มีทั้งขายปลีก ขายส่ง ราคาไม่แพงเลย เห็นแล้วอาจใจละลายอยากเหมากลับบ้านกันทีเดียว นอกจากนี้ ในปากคลองตลาดยังมีบริการจัดดอกไม้ด้วย ไม่ว่าจะจัดช่อ จัดแจกัน บายศรี พวงมาลัย พวงหรีด ฯลฯ .ถ้าเพื่อน ๆ เพิ่งเคยไปเดินปากคลองครั้งแรก รับรองว่าเดินสนุกแน่นอน เพราะที่นี่มีการจัดโซนให้เดินชมเดินชอปได้ไม่ยากเลย ถ้าสนใจจะซื้อดอกบัว ขอแนะนำให้ไปที่ซอยบัว บริเวณถนนเอ็มไพร์ พ่อค้าแม่ค้าวางดอกบัวเรียงรายให้ลูกค้าได้เลือกซื้อละลานตาเลยทีเดียว นอกจากซอยบัวแล้วก็มีซอยกล้วยไม้ด้วย จะอยู่บริเวณถนนบ้านหม้อ(ตรงข้ามซอยบัว) มีกล้วยไม้สารพัดวางเรียงรายเต็มไปหมด  ปากคลองตลาดมี “ผัก-ผลไม้” .ที่ปากคลองตลาด มีขายผักและผลไม้ด้วยนะ ซึ่งผัก-ผลไม้ที่ขายในปากคลองตลาด มีทั้งขายปลีก ขายส่ง ขายเหมา ลูกค้าจึงมีทั้งลูกค้าครัวเรือน และลูกค้าที่ซื้อไปขายต่อ หรือซื้อไปทำอาหารขาย รวมทั้งถ้าเราอยากหาซื้อผลไม้เพื่อใช้ในพิธีกรรมต่าง ๆ ที่นี่ก็มีผลไม้แบบคัดสรรให้บริการ เพราะเขาจะคัดแบบสวย ๆ ลูกโต ๆ มาแล้วทั้งนั้น  ปากคลองตลาดมี “ขนม” งานมงคล .ในงานพิธีกรรมต่าง ๆ นอกจากดอกไม้ และผลไม้แล้ว ก็ยังต้องมีขนมมงคลต่าง ๆ ปากคลองตลาดนับว่าเป็นวันสต็อปชอปปิงในเรื่องนี้ได้เลย เพราะมีร้านขายขนมมงคลทั้งขนมไทย ขนมแบบจีนมากมายให้เลือกซื้อ ปากคลองตลาดมี “อุปกรณ์งานประดิษฐ์” .ดอกไม้ก็มีแล้ว ถ้าจะร้อยมาลัย ทำบายศรีธูปเทียนแพร พานพุ่ม ฯลฯ ...
อ่านเพิ่มเติม

ตามหาต้าวเข้ที่พิจิตร

วัดเก่าแก่ วัดโบราณ วัดสวย ต้องยกให้จังหวัดพิจิตร วันนี้แอดมินจะพาเพื่อน ๆ ไปรู้จักกับจังหวัดเล็ก ๆ แห่งนี้ ที่เต็มไปด้วยสถานที่ท่องเที่ยวสุดว้าว อาหารดั้งเดิมซึ่งหาทานได้ยาก และจะพาไปตามหาต้าวจระเข้ด้วย อย่ารอช้ารีบตามแอดมินมากันเลย! 1. วัดห้วยเขน วัดเก่าแก่ของเมืองพิจิตร มีจิตรกรรมฝาผนังโบราณที่ยังคงเอกลักษณ์เดิมไว้ โดยไม่มีการบูรณะเพิ่มเติม ถือว่ามีความสมบูรณ์และสวยงามมาก ๆ พิกัด : https://goo.gl/maps/huhPQRFyTwkrt1DZ6 2. วัดสุขุมาราม วัดที่มีพระพุทธรูปปางไสยาสน์ยาวเป็นอันดับที่ 3 ของประเทศไทย มีความยิ่งใหญ่และตระการตามาก อีกทั้งมีการก่อสร้างอาคารในรูปแบบศิลปะร่วมสมัยอีกด้วย พิกัด : https://goo.gl/maps/CaHH5nNWj9qrMLcU8 3. ตลาดบางมูลนาก ตลาดเก่าแก่อายุนับร้อยปี ที่มีร้านอาหารดั้งเดิมมากมาย ตามสองข้างทาง สำหรับอาหารที่เราจะแนะนำคือโกยซีหมี่ สูตรดั้งเดิม ที่มีรสชาติกลมกล่อม อร่อยแบบไม่ต้องปรุงเลยทีเดียว พิกัด : https://goo.gl/maps/BDcdbArHTyPXJboH9 4. วัดบางคลาน ตั้งอยู่ริมแม่น้ำน่านเก่า สิ่งที่น่าสนใจของวัดนี้คือโบราณวัตถุต่าง ๆ ที่ทางวัดได้สะสมไว้ โดยส่วนใหญ่จะเป็นวัตถุที่มีผู้นำมาถวาย สิ่งก่อสร้างที่น่าสนใจของวัดนี้คือ พิพิธภัณฑ์นครไชยบวร ซึ่งเป็นพิพิธภัณฑ์รูปมณฑป เป็นที่ประดิษฐานรูปหล่อเท่าองค์จริงของหลวงพ่อเงิน พระเกจิอาจารย์ชื่อดังแห่งเมืองพิจิตร พิกัด : https://goo.gl/maps/XfVDrhQrZhHD8rJW6 5. วัดยางคลี วัดเก่าแก่ของตำบลวังหว้า ภายในพระอุโบสถเป็นที่ประดิษฐานของพระสุพรรณรังษี” หรือ หลวงพ่อใหญ่ มีลักษณะสีดำทั้งองค์ ชาวบ้านยังบอกอีกว่า ใครมาบนบานศาลกล่าวเรื่องเกณฑ์ทหาร คือได้ทุกคน ได้ใบแดงนะ อิอิ พิกัด : https://goo.gl/maps/o9Vyo2Dxge7hiy1GA 6. ชุมชนวังหว้า แหล่งผลิตผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางหลากหลายชนิดไม่ว่าจะเป็น สบู่ สครับ เซรั่มบำรุงผิว โดยผลิตจากข้าวไรซ์เบอร์รี และพืชผลทางการเกษตรต่าง ๆ ของชุมชน อีกทั้งยังมีการอบรมทำยาดมสมุนไพรด้วย และที่วังหว้ายังมีราดผัดไทยเตาถ่านสูตรโบราณ รสชาติอร่อยมาก ๆ ใครมาวังหว้า ห้ามพลาดเด็ดขาด พิกัด :https://goo.gl/maps/Y2si6xXJoPDnTQ4b8 7. บ้านเก่าเสาปั้นจั่น แหล่งเรียนรู้ของอำเภอตะพานหิน มีลักษณะเป็นพิพิธภัณฑ์ที่เก็บรวบรวมของเก่า ของสะสมมีค่า เช่น เครื่องเล่นแถบเสียงเก่าแก่ที่ยังใช้งานได้ ภาพวาดโบราณ เครื่องพิมพ์ดีด รวมถึงป้ายร้านค้าเก่า ๆ ที่ปิดตัวไปแล้ว ...
อ่านเพิ่มเติม

เที่ยวสามแพร่ง แหล่งอาหารอร่อย

ย่านสามแพร่ง เป็นชุมชนเก่าแก่ อดีตเป็นกลุ่มวังที่ประทับของเจ้านาย ได้แก่ วังกรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ วังกรมหมื่นภูธเรศธำรงศักดิ์ และวังกรมหลวงสรรพสาตรศุภกิจ.ในสมัยรัชกาลที่ 5 มีการตัดทางผ่านกลางพื้นที่กลุ่มวังนี้ เพื่อเชื่อมถนนอัษฎางค์กับถนนตะนาว จนเกิดเป็นทางสามแพร่ง และตั้งชื่อถนนในย่านนี้ตามพระนามเจ้าของวัง คือ ถนนแพร่งสรรพศาสตร์ ถนนแพร่งนรา และถนนแพร่งภูธร.ในสมัยนั้น ย่านสามแพร่ง นับว่าเป็นย่านเศรษฐกิจที่สำคัญ มีห้างร้านมากมาย โดยเฉพาะร้านจำหน่ายอุปกรณ์สนามของข้าราชการทหาร-ตำรวจ รวมทั้งร้านทอง ร้านอาหาร ห้างฝรั่ง และโรงละครปรีดาลัย โรงแสดงละครร้องแห่งแรกของไทย ย่านสามแพร่งตั้งอยู่ที่แขวงศาลเจ้าพ่อเสือ ในเขตพระนคร สามารถเดินทางมาได้หลายวิธี.รถส่วนตัว : ตั้ง GPS มุ่งหน้ามายังเขตพระนคร จากนั้นเลี้ยวตัดเข้าถนนตะนาว ซึ่งอยู่ไม่ไกลจากอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย .MRT : สถานีสามยอด ทางออกที่ 3 เดินมุ่งหน้ามาทางแยกสี่กั๊กพระยาศรี เดินเลี้ยวขวาเข้าถนนเฟื่องนครมาประมาณ 700 เมตรก็จะถึงย่านสามแพร่ง.MRT : สถานีสนามไชย ทางออกที่ 2 เดินไปทางสวนสราญรมย์ แล้วเข้าถนนอัษฎางค์.1 ศาลเจ้าพ่อเสือ2 ซุ้มประตูแพร่งสรรพศาสตร์3 กุยช่ายคุณแม่4 โรงเรียนตะละภัฏศึกษา (วังวรวรรณ)5 ก๋วยเตี๋ยวนายมัก เจ้าเก่า แพร่งนรา6 ร้านขนมหวานลุงแดง แพร่งนรา7 ร้าน ก.พานิช ข้าวเหนียวมะม่วงและขนมไทย8 ชิกัจฉา กาแฟสด แพร่งภูธร9 1905 Heritage Corner & Café แพร่งภูธร10 ขนมปังปิ้ง “ภูธรบาร์” แพร่งภูธร ศาลเจ้าพ่อเสือ .มาถึงแขวงศาลเจ้าพ่อเสือ ก็ต้องเข้าไปสักการะกันสักหน่อย “ศาลเจ้าพ่อเสือ” หรือที่ชาวจีนเรียกว่า “ตั่วเหล่าเอี้ย” เป็นศาลเจ้าเก่าแก่ที่มีความศักดิ์สิทธิ์ ประดิษฐานรูปเอี่ยนเถี้ยนส่งเต้ รูปเจ้าพ่อเสือ รูปเจ้าพ่อกวนอู และรูปเจ้าแม่ทับทิม ผู้คนต่างมากราบไหว้ขอพร เสริมดวงบารมี รวมถึงสะเดาะเคราะห์แก้ปีชงต่าง ๆ.สำหรับผู้ที่เพิ่งเคยไปครั้งแรก หรือไม่คุ้นชินกับการไหว้ศาลเจ้าก็ไม่ต้องห่วงจ้า ด้านในมีเจ้าหน้าที่ของศาลเจ้าบอกขั้นตอนอย่างละเอียด.ด้านในห้ามถ่ายภาพนะ.เปิดทุกวัน เวลา 06.00-17.00 น.ที่ตั้ง 468 ถนนตะนาว แขวงศาลเจ้าพ่อเสือ เขตพระนคร กรุงเทพฯ ซุ้มประตูแพร่งสรรพศาสตร์.เดินออกจากศาลเจ้าพ่อเสือ ก็มาถึงแพร่งที่ 1 ...
อ่านเพิ่มเติม

ดื่มด่ำงานศิลป์ที่ Matdot Art Center

ถนนหลานหลวง ถือเป็นถนนที่มีความคลาสสิกอีกแห่งหนึ่งของกรุงเทพฯ มีตึกเก่าสวย ๆ ให้เดินถ่ายรูปเล่นเพลิน ๆ หลายตึกเลย นอกจากนี้ แอดยังไปสะดุดตาเข้ากับแกลเลอรีแห่งหนึ่ง นั่นก็คือ Matdot Art Center ซึ่งด้านในมีทั้งร้านกาแฟ และแกลเลอรีแสดงผลงานศิลปะหลายสไตล์ แอดบอกเลยว่าที่นี่เหมาะมากสำหรับการมานั่งชิลล์จิบกาแฟ ขลุกตัวทำงาน และชมงานศิลป์.ช่วงนี้ที่ art center กำลังมีนิทรรศการ “The Revolving World” โดยงานจะจัดไปจนถึงวันที่ 3 มิถุนายน 2564 เพื่อน ๆ ที่สนใจ สามารถไปชมนิทรรศการกันได้ค่ะ Matdot Art Center ก่อตั้งขึ้นโดย คุณธวัชชัย สมคง ศิลปินและบรรณาธิการบริหาร นิตยสาร Fine Art ผู้รักในศิลปะ อยากให้ศิลปินมีพื้นที่แสดงความสามารถ และให้ผู้คนที่ชื่นชอบศิลปะได้เข้าถึงงานศิลปะได้มากยิ่งขึ้น ทุกพื้นของ art center จะมีศิลปะเข้าไปเป็นส่วนประกอบเพื่อนำเสนอว่า ศิลปะสามารถเข้าไปอยู่ในชีวิตประจำวันและทุกกิจกรรมที่เราทำได้ เมื่อเข้าไปในแกลเลอรี จะพบกับร้านกาแฟเป็นห้องแรก ซึ่งเปรียบเสมือนห้องรับแขกที่รวบรวมงานศิลปะของศิลปินจากทั่วโลกเอาไว้ บรรยากาศและผลงานศิลปะภายใน Matdot Cafe ร้านกาแฟแห่งนี้ให้บริการกาแฟและของหวานที่ทางร้านทำเอง เมนูที่ต้องลองชิมคือ กาแฟ cold brew และเค้กบราวนี่รสชาติเข้มข้น ถูกใจคนที่ชอบช็อกโกแลตอย่างแน่นอน อีกมุมหนึ่งของร้านกาแฟ เป็นโซนห้องสมุด เอาไว้สำหรับนั่งทำงานและอ่านหนังสือ โดยจะมีงานศิลปะแทรกอยู่ตามจุดต่าง ๆ ของห้อง มุมนั่งชิลอีกมุมหนึ่งของโซนร้านกาแฟ ที่นี่มีห้องแกลเลอรีทั้งหมด 2 ห้อง คือ Blacklist Gallery และ MatDot Gallery เป็นแกลเลอรีหลักสำหรับจัดแสดงนิทรรศการศิลปะหมุนเวียนของศิลปินชาวไทยและต่างชาติ โซนสตูดิโอ มี 3 ห้อง เป็นโซนที่เปิดให้ศิลปินชาวต่างชาติมาพักและสร้างผลงาน โดยมีห้องพักและห้องทำงานให้บริการ พื้นที่นี้เป็นพื้นที่ส่วนตัว แต่ถ้าเพื่อน ๆ โชคดีได้เจอตัวศิลปิน ก็สามารถขอเข้าไปดูผลงานและพูดคุยกับศิลปินได้ค่ะ ห้องพักสำหรับศิลปิน แบ่งออกเป็น 4 ห้องหลัก มีการตกแต่งอย่างสวยงาม และมีผลงานศิลปะประดับอยู่ทั่วห้อง โซนห้องดำ เป็นห้องอเนกประสงค์ ใช้สำหรับจัดกิจกรรมต่าง ...
อ่านเพิ่มเติม

EXPLORING FOOD AND THE HISTORICAL BUILDINGS OF SAM PHRAENG NEIGHBOURHOOD IN BANGKOK OLD TOWN

Sam Phraeng is the collective name of the three side roads made during the reign of King Rama V the Great to link Tanao and Atsadang Roads..
อ่านเพิ่มเติม
Scroll to Top